กรอบแนวคิดที่มา The STUDIES Model
รูปแบบ The STUDIES Model เป็นผลสืบเนื่องจากการศึกษาวิจัยเพื่อส่งเสริมความสามารถในการและการจัดการชั้นเรียนสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูศึกษาวิเคราะห์หลักการแนวคิดทฤษฎีประกอบด้วยแนวนโยบายแห่งรัฐในการจัดการศึกษายุค
Thailand 4. 0 หรือยุคการศึกษา 4. 0 มาตรฐานวิชาชีพครู
พ. ศ. 2556 แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivist Learning การออกแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากล
(Universal Design of Instruction: UDI) การวัดผลการเรียนรู้
การกำหนดระดับความเข้าใจ ในการกำหนดค่าระดับคุณภาพการเรียนรู้ตามแนวคิด SOLO
Taxonomy การะผลการศึกษาวิจัยได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เรียกว่า
The STUDIES Model มีรายละเอียดกรอบแนวคิด (The
STUDIES Model framework) ดังแผนภาพประกอบที่ 1
ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
|
1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 และ 4. หลักสูตรการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ปรับปรุง 2553 5.การศึกษา 4.0
2.มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาสาขาครุศาสตร์และ 6. การกำหนดระดับความเข้าใจในการกำหนดค่าระดับ
สาขาศึกษาศาสตร์(หลักสูตรห้าปี) คุณภาพการเรียนรู้ตามความคิด SOLO Taxonomy
3.มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
|
แนวคิด
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้
1. ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ( constructivism ) 2. Constructivist Learning method : CLM 3. แนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากล (Universal Desing of Instruction : UDI ) 4.SU Model 5.NPU Model |
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
1.Meyers and other (2002)
2.Meyers and Mcnulty (2009)
3.สุเทพอ่วม เจริญประเสริฐมงคล และวัชราเล่า
เรียนดี (2559) (SU Learning Model)
4.สุจิตรา ปันดี (2558) (LRU Model)
5.นฤมล ปภัสสรานนท์ (2559) (DRU Model)
|
รูปแบบ
The STUDIES Model
|
ทฤษฎี / แนวคิด
|
ขั้นตอน/กิจกรรม การเรียนรู้
|
||||||
Constructivist
|
Clarifying
exist knowledge
|
Identifying
receiving and understanding new information
|
Confirming
and using new knowledge
|
||||
DRU
Model
|
D.การวินิจฉัยการออกแบบการเรียนรู้
|
R.การใช้วิจัยเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
U.การประเมินตรวจสอบทบทวนตนเอง
|
||||
SU
Learning
Model
|
การวางแผนการเรียนรู้
|
การออกแบบการเรียนรู้
|
ปฏิบัติการการเรียนรู้
(การเรียนรู้ +การจัดการชั้นเรียน) |
การประเมินการเรียนรู้
|
|||
Reseaech
Learning
|
วิเคราะห์จุดหมายในการเรียนรู้
|
วางแผนการเรียนรู้
|
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้
|
การสรุปความรู้
|
การวิพากษ์ความรู้
|
ประเมินการเรียนรู้
|
|
The
STUDIES
Model
|
S
Setting
Learning goals |
T-Task
Analysis |
U-Universa
Design Instruction |
D-Digital
Learning |
I-Integrate
Learning |
E-
Evalution
|
S/sndardta
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น